วันพฤหัสบดีที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2555

กาแล็กซี [Galaxy] ?

ความหมาย : ระบบขนาดใหญ่ของดาวฤกษ์ ที่ประด้วย กลุ่มดาวฤกษ์ เนบิวลา ดาวเคราะห์ ดาวหาง อุกกาบาต อันเป็นบริวาร อีกทั้งรวมถึงฝุ่นผง

การเกิดของกาแล็กซี่ : สสารและเทห์ฟากฟ้าทั้งหมดที่เกิดจากการระเบิดครั้งใหญ่ "บิ๊กแบงค์" ไม่ได้กระจายออกสู๋อวกาศสม่ำเสมอ แต่ออกไปเป็นกลุ่มๆ

องค์ประกอบ : ดาวฤกษ์ [Stars] กระจุกดาว [Star Clusters] เนบิวลา [Nebula] หรือ หมอกเพลิง
รวมฝุ่นธุลีคอสมิก [Cosmic Dust] ก๊าซ และ พื้นที่ว่าง [Space]

กาแล็กซี่แบ่งออกเป็น 3 ส่วน : 1.ส่วนใจกลาง [Nucleus] 2.จาน [Disk] 3.แขนของกาแล็กซี่
[Spiral Arms]

องค์ประกอบของใจกลาง : ดาวฤกษ์เป็นส่วนมากก๊าซและฝุ่นมีอยู่เล็กน้อย

องค์ประกอบของจาก : ดาวฤกษ์ ฝุ่น และ ก๊าซ *มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ*

องค์ประกอบของแขน : ฝุ่น และ ก๊าซ

ลักษณะและรูปร่าง : แบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1.กาแล็กซีกลมรี หรือ กาแล็กซีรูปไข่  [Elliptical Galaxies] 2.กาแล็กซีแบบก้นหอย หรือ กาแล็กซี่แบบกังหัน [Spiral Galaxies] 3.กาแล็กซีแบบไร้รูปร่าง หรือ กาแล็กซีรูปร่างไม่สม่ำเสมอ [Irregular Galaxies]

ทั้ง 3 ประเภทแบ่งออกเป็นกี่เปอร์เซ็น : กาล็กซี่รูปไข่ [17%] กาแล็กซี่แบบกังหัน [80%] กาแล็กซี่แบบไร้รูปร่าง [3%]


กาแล็กซีรูปไข่  [Elliptical Galaxies]

กาแล็กซี่แบบกังหัน [Spiral Galaxies]

กาแล็กซีรูปร่างไม่สม่ำเสมอ [Irregular Galaxies]



วันพุธที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2555

เนบิวลา [Nebulae] ?

ความหมาย : กลุ่มก๊าซและฝุ่นละอองที่ลอยอยู่ในอวกาศบางแห่ง รวมตัวกันอยู่อย่างนานแน่นมาก ซึ่งอาจมองเห็นได้โดยการรับแสงสว่างจากดาวที่อยู่ใกล้เคียงแล้วสะท้อนแสงออกมา

การกำเนิด : หมู่เนบิวลาเป็นวัตถุดิบที่เหลือจากการก่อเกิดให้เกิดดาวฤกษ์ต่างๆ หรือกล่าวได้ว่า เนบิวลาเนบิวลาเป็นซากของดาวฤกษ์หรือวัตถุท้องฟ้าและก๊าซอัดตัวกันอยู่ในเขตจำกัด สีขอบเนบิวลาจะเปลี่ยนไปตามระดับอุณภูมิ

ขนาดและส่วนประกอบ : มีขนาดใหญ่มาก ประกอบด้วย กลุ่มก๊าซ กลุ่มดาวฤกษ์ และวัตถุต่างๆ ที่จะก่อตัวรวมกันเป็นดาวฤกษ์

เหตุใดกลุ่มก๊าซและฝุ่นในเนบิวลาจะสว่างขึ้นเมื่ออยู๋ใกล้ดาวฤกษ์ : เพราะกลุ่มก๊าซถูกกระตุ้นให้เกิดการเรืองแสง หรือ เป็นเพราะฝุ่นท้องฟ้าสะท้อนแสงดาวฤกษ์อยู่ใกล้

เนบิวลามีกี่ประเภท : 3 ประเภท คือ 1.เนบิวลาเรืองแสง [Bright Nebula] 2.เนบิวลามืด [Dark Nebula]
3.เนบิวลาสะท้อนแสง [Reflective Nebula]

เนบิวลาเรืองแสง เนบิวลาสว่างใหญ่ในกลุ่มดาวนายพราน [Great Nebu in Orion] "M42"
เนบิวลามืด รูปหัวม้า [Horse Head Nebula]
เนบิวลาสะท้อนแสงหัวแม่มด [Witch Head Nebula] "M78"
เนบิวลาดาวเคราะห์ วงแหวน [Ring Nebula] "M57"

หลุมดำ [Blavk Holes] ?


นักวิทยาศาสตร์ที่ค้นพบหลุมดำ : ปิแอร์ เดอ ลา ปลาซ [Pierre de Laplace] นักคณิศาสตร์และดาราศาสตร์ ชาวฝรั่งเศษ เกิดเมื่อวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1749 เสียชีวิ เมื่อวันที่ 5 มีนาคม ค.ศ. 1827

ความหมาย : ดาวเคราะห์หนึ่งกำลังเผาผลาญเชื้อเพลิงนิวเครียร์อยู่นั้น แรงดันออกของรังสีจะถูกต้านไว้โด แรงโน้มถ่วงจากมวลสารของดวงดาวในสภาวะสมดุลดังนั้นเมื่อเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ถูกใช่หมดไปย่อมเหลือแต่แรงโน้มถ่วงจากมวลสารของดวงดาวเดียว ดาวดวงนั้นจึงยุบตัวลงจนมีลักษณะเป็นลูกบอลขนาดเล็กที่มีความหนาแน่นมากมายมหาสาร


การกำเนิดหลุมดำ : หลุมดำเกิดจากการยุบตัวของดาวฤกษ์ที่มีมวลมากเมื่อสิ้นอายุขัย

ตำแหน่งของหลุมดำ : กลุ่มดาวเซนทอรัส [Centaurus X-3] กลุ่มดาวซิกนัส [Cygnus X-1] อยู่ตรงศูนย์กลางของดาราจักรช้างเผือก [Milky Way Galaxy]

วัตถุที่ถูกดูดเข้าไป จะเป็นอย่างไร : ไม่สามารถคงสภาพเดิมอยู่ได้ ต้องแตกสลายเปลี่ยนสภาพกลับไปสู่สภาพองค์ประกอบเล็กที่สุดคือ อะตอม และเล็กที่สุดของอะตอมคือ ควาร์ก

รู้ได้อย่างไรว่า หลุมดำ มีอยู่จริง : นักดาราศาสตร์สามารถตรวจสอบการมีอยู่จริงของหลุมดำได้จากพลังงานดึงดูดของแรงโน้มถ่วงที่มันกระทำต่อดวงดาวใกล้ๆ

วัตถุที่ถูกดูดเข้าไปจะหายไปจากจักรวาลเลยหรือไม่ : ตามทฤษฏีน่าจัยังคงอยู่ในหลุมดำแต่แปรสภาพไปไม่อาจอยู๋ในสภาพเดิมได้และบางส่วนจะเปลี่ยนสภาพไปเป็นพลังงานตามสมการ E = mc2 ของ 
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ [Albert Einstein]

*ความเร็วเหนือกว่าความเร็วของแสงจึงจะสามารถหลุดออกจากแรงโน้มถ่วงของหลุมดำได้*